รูปแบบการทำงานของระบบบาร์โค้ด

SimLex ระบบบาร์โค้ด

คู่มือภาษาญี่ปุ่น

คู่มือภาษาอังกฤษ

คู่มือภาษาไทย

If you can connect even WIFI, you can use even in the cloud environment or your own server.
Actual result processes are Production Result, Delivery Result, Purchase Receive Result, Receive / Issue Result with SimLex series.

ภาพรวมการทำงานของระบบบาร์โค้ด

ระบบบาร์โค้ด เป็นระบบที่ใช้ในการป้อนข้อมูลสินค้าและแสดงผลผ่านเครื่องอ่านบาร์โค้ด สามารถแสดงจำนวนสินค้าคงคลังแบ่งตามสถานที่จัดเก็บสินค้า ,สินค้าคงคลังทั้งหมด ,เคลื่อนย้ายสินค้า และบันทึกความเคลื่อนไหวของสินค้า ระบบนี้สามารถปรับปรุงเป็นระบบ ERP ,ระบบการจัดการการผลิต และระบบการจัดการการขายได้

ภาพรวมการทำงานของระบบการจัดการสินค้าคงคลัง

ขั้นตอนพื้นฐาน ระบบคลังสินค้า→การรับเข้า-ส่งออก, การเคลื่อนย้ายสินค้า, ประวัติการรับเข้า-ส่งออกสินค้า ระบบจะอัพเดทข้อมูลทันทีเหมือนมีความเคลื่อนไหวของสินค้า

ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง

การจัดการคลังสินค้า

  • สถานที่จัดเก็บสินค้า ,จำนวน และวันที่รับ-ส่งสินค้า
  • จำนวนคงเหลือ ,มูลค่า และจุดสั่งซื้อใหม่(Safety Stock)
  • แสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือตามจริง

การจัดการการขาย

  • การป้อนข้อมูล P/O ,ยืนยัน P/O และการออกเอกสาร
  • การออกใบแจ้งหนี้ทั้งในและต่างประเทศ
  • มาตรฐานที่รองรับ Invoice ต่างประเทศคือ CIF ,FOB ,C&F ,DDP และ DDU
  • การออกใบแจ้งหนี้ของต่างประเทศ และเอกสารการหยิบสินค้า
  • การจัดส่งสินค้าทั้งในและต่างประเทศ
  • การป้อนข้อมูลการชำระเงินล่วงหน้า , Debit Note และ Credit Note
  • การสร้างและออกเอกสารใบเสนอราคา
  • การยืนยัน P/O และใบแจ้งหนี้
  • การแบ่งกลุ่มยอดขายตามขนาดของลูกค้าเล็ก/กลาง/ใหญ่
  • การสร้างโครงสร้างการผลิต (BOM)
  • ตารางความคืบหน้ารายเดือน ,ตารางเวลาการจัดส่งสินค้ารายเดือน และรายสัปดาห์

คำแนะนำและการติดตามผลการผลิต

  • หลังจากที่ปล่อยคำสั่งผลิต/คำสั่งซื้อวัตถุดิบ (MRP) เรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถออกใบสั่งผลิต (การผลิตแบบ Order No. และการผลิตแบบ Production No.)
  • นอกจากนี้ยังสามารถออกใบเบิกวัตถุดิบที่ต้องใช้ในขั้นตอนการผลิต และบันทึกผลเมื่อมีการเบิกวัตถุดิบออกไป
  • เมื่อการผลิตในแต่ละขั้นตอนเสร็จสิ้น ให้บันทึกผลผลิตที่ผลิตได้ลงในช่อง Production Quantity, บันทึกของเสียลงในช่อง Scap Quantity, ใส่ Lot No. และบันทึกรายละเอียดอื่นๆ ของการผลิตลงในหน้า Production Result
  • ข้อมูลที่บันทึกลงในหน้า Production Result จะถูกนำไปแสดงที่หน้า Production Lot Trace เพื่อดูผลการใช้วัตถุดิบ, งานระหว่างทำ และสินค้าสำเร็จรูปที่ผลิตได้จริง
  • ในส่วนระบบการผลิต สามารถออกเอกสาร ใบสั่งผลิต, รายงานสรุปรายการที่ยังไม่ผลิต, รายงานสรุปรายการที่ผลิตไปแล้ว

การจัดการการซื้อสินค้า

  • คำสั่งซื้อที่คำนวณได้จากการทำ MRP สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไขได้
  • การออก P/O จากคำสั่งซื้อ
  • การป้อนข้อมูลนอกเหนือจาก P/O สามารถทำได้โดยใช้ระบบบาร์โค้ด
  • การป้อนข้อมูลการชำระเงินล่วงหน้า ,Debit Note และ Credit Note
  • การพิมพ์ป้าย/ฉลากสินค้า และใบหยิบสินค้า
  • ภาษีการซื้อ-ภาษีขายระหว่างประเทศ
  • การบันทึกประวัติการทำงาน และการแสดงผลย้อนหลัง
  • การอนุมัติ P/O และใบแจ้งหนี้
  • บันทึกการซื้อ-ขายตามรายชื่อของลูกค้า

การขนย้ายสินค้า

  • แสดงผลการรับสินค้าเข้าและส่งออก
  • แสดงผลการย้ายสินค้าเข้า-ออก
  • บันทึกความเคลื่อนไหวของสินค้า
  • บันทึกการรับเข้าและส่งออกของสินค้า

การจัดการสินค้าคงคลัง

  • แสดงจำนวนสินค้าแบ่งตามสถานที่จัดเก็บสินค้า
  • แสดงจำนวนสินค้าคงเหลือทั้งหมด
  • แสดงจำนวนสินค้าคงเหลือรายเดือน

ฐานข้อมูล

  • ปฏิทินการทำงาน ,ประเทศ ,สกุลเงิน ,อัตราแลกเปลี่ยน และฐานภาษี
  • เงื่อนไขการรับ-จ่ายเงิน ,ธนาคาร ,บริษัท ,ลูกค้า และซัพพลายเออร์
  • แผนก ,บุคคล ,สถานที่ และรหัสรับ-จ่าย
  • ขั้นตอนการผลิต ,เครื่องมือการผลิต และ BOI
  • ไอเทมที่ผลิต ,ไอเทมที่สั่งซื้อ ,ไอเทมผลิตโดยผู้รับเหมา ,หน่วยนับสินค้า และการจัดประเภท
  • ไอเทม BOM ,แสดงโครงสร้าง BOM ,ราคาขาย ,ราคาซื้อ และหมวดหมู่